วันอาทิตย์ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

สมาชิกในกลุ่มที่ 3 (K) เรื่องที่สอนทดลองสอน 2 (9-20/ม.ค/60)

สมาชิกในกลุ่มที่ 3 (K)
วิชาการพัฒนารูปแบบการสอนวิทยาศาสตร์ (1024104)
ลำดับ
ชื่อ-สกุล
เรื่องที่สอน (9-20/ม.ค/60)
1
สอนชั้น ม.2 เรื่อง โครงงาน
2
สอนชั้น ม.2 เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของโลก
3
สอนชั้น ม.1 เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
4
สอนชั้น ม.1 เรื่อง ความดันและความชื้นบรรยากาศ
5
สอนชั้น ม.2 เรื่อง ระบบร่างกายของมนุษย์และสัตว์
6
สอนชั้น ม.1 เรื่อง การเคลื่อนที่
7
สอนชั้น ม.1 เรื่อง การเกิดเมฆและฝน
8
สอนชั้น ม.1 เรื่อง โครงสร้างของเซลล์
9
สอนชั้น ม.2 เรื่อง ดินและหิน
10
สอนชั้น ม.3 เรื่อง ตัวกลางของแสง
11
สอนชั้น ม.1 เรื่อง ความดันและความชื้นบรรยากาศ
12
สอนชั้น ม.2 เรื่อง ดินและหิน
13
สอนชั้น ม.1 เรื่อง การเคลื่อนที่
14
สอนชั้น ม.2 เรื่อง การหักเหของแสง
15
สอนชั้น ม.2 เรื่อง ดิน
16
สอนชั้น ม.1 เรื่อง น้ำเสีย

นักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป กลุ่ม 12 รุ่น 56  คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี


NKK Model

NKK Model




บทบาทครู
          วางแผน (Need for Learning)
          จัดการชั้นเรียน (Knowledge by Network)           
          ประเมิน อิงกลุ่มหรืออิงเกณฑ์ (Knowledge and do Audit)
          1. แผนการจัดการเรียนรู้
          2. สื่อ นวัตกรรม สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้
          3. เครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
          1. กำหนดวัตถุประสงค์
                   1.1 ความรู้
                    1.2 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
                   1.3 จิตวิทยาศาสตร์
          2. กิจกรรม/ภาระงาน
                   2.1 กิจกรรมเพื่อให้รู้จุดประสงค์การเรียนรู้
                   2.2 เสาะหาหรือสืบค้นเพื่อบรรลุกิจกรรม
                   2.3 นำเสนอ และ วิพากษ์
          3. การวัดผล
                    3.1 ตรวจสอบทบทวนตัวเอง ตามกิจกรรมและภาระงาน
                    3.2 ประเมินตนเองในความรู้ กระบวนการและจิตวิทยาศาสตร์         
                    3.3 การตอบสนองความต้องการในการเรียนรู้ของตนเอง
บทบาทนักเรียน
         N (Need for Learning)         = ความต้องการของนักเรียน -----> K P A
          K (Knowledge by Network)   = ความรู้ผ่านเครือข่าย -----> CN SN AN
                   - CN เรียนรู้ผ่าน PPTX,E-book,ใบความรู้
                   - SN กลวิธีในการเรียนรู้ 1) ระดมสมองแบ่งงานตามความสามารถ 2) ทำงานตามความสามารถ
                   - AN สอบถามจาก เพื่อน, ผู้รู้, ผู้เชี่ยวชาญ
          K (Knowledge and do Audit) = ตรวจสอบความรู้ตนเอง -----> ตรวจสอบ K P A
รูปแบบการสอนแบบทางตรง
          แนวคิดของรูปแบบ การเรียนการสอนโดยจัดสาระและวิธีการให้ผู้เรียนอย่างดี ทั้งด้านเนื้อหา ความรู้ และการให้ผู้เรียนใช้เวลาเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
          วัตถุประสงค์ รูปแบบการสอนนี้มุ่งช่วยให้ได้เรียนรู้ทั้งเนื้อหาสาระและมโนทัศน์ต่างๆ รวมทั้งได้ฝึกปฏิบัติทักษะต่างๆ จนสามารถทำได้ดีและประสบผลสำเร็จในเวลาที่จำกัด
กระบวนการเรียนการสอน
          ขั้นนำ
                   1) Desing = ออกแบบการจัดการเรียน
                   2) CN = เรียนรู้ผ่าน PPTX,E-book,ใบความรู้
                   3) AN = สอบถามจาก เพื่อน, ผู้รู้, ผู้เชี่ยวชาญ
          ขั้นสอน
                   1) CN = เรียนรู้ผ่าน PPTX,E-book,ใบความรู้
                   2) L = DRU เรียนรู้อย่างมีความสุข
                   3) SN = กลวิธีในการเรียนรู้
                             - ระดมสมองแบ่งงานตามความสามารถ
                             - ทำงานตามความสามารถ        
          ขั้นสรุป
                  1) SN = กลวิธีในการเรียนรู้
                             - ระดมสมองแบ่งงานตามความสามารถ
                             - ทำงานตามความสามารถ
                   2) ประเมินตนเอง = ตรวจสอบทบทวนความรู้
                   3) AN = สอบถามจาก เพื่อน, ผู้รู้, ผู้เชี่ยวชาญ
          ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติตามความสามารถของตน จนสามารถวัตถุประสงค์ ทำให้ผู้เรียนมีแรงจูงใจในการเรียน และมีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง
การสอนแบบสร้างความรู้ด้วยตนเอง
          แนวคิด
          1. เริ่มที่ผู้เรียนต้องอยากรู้ อยากเรียน อยากทำก่อน จึงจะเป็นตัวเร่งให้เกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของ
          2. ใช้ความผิดพลาดเป็นบทเรียน เป็นแรงจูงใจภายใน ให้เกิดการสร้างสรรค์ความรู้
          3. การเรียนรู้เป็นทีม จะดีกว่าการเรียนรู้คนเดียว
ขั้นตอนการสร้างความรู้ด้วยตนเอง
          1. Explore คือ การสำรวจตรวจค้น บุคคลจะเริ่มสำรวจตรวจค้นหรือพยายามทำความเข้าใจกับสิ่งที่สนใจจะเรียนรู้
          2. Experiment คือ การทดลอง เป็นการทดลองทำภายหลังจากที่มีการสำรวจไปแล้ว
          3. Learning by doing คือ การเรียนรู้จากการกระทำ เป็นการลงมือปฏิบัติ การได้ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมที่มีความหมายต่อตนเอง แล้วสร้างองค์ความรู้ของตนเองขึ้นมา
          4. Doing by learning คือ การทำเพื่อที่จะให้เกิดการเรียนรู้
หลักการแนวคิดรูปแบบการสอน
ลำดับที่
รูปแบบการสอน
ขั้นตอนการสอน
1
Constructionism
1. Explore
การสำรวจตรวจค้น ในขั้นตอนนี้บุคคลจะเริ่มสำรวจตรวจค้นหรือพยายามทำความเข้าใจกับสิ่งใหม่ (assimilation)ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อได้พบหรือ ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมใหม่ๆที่ไม่มีอยู่ในสมองของตน ก็จะพยายามรับหรือดูดซึมเก็บเข้าไปเป็นความรู้ใหม่






2. Experiment
การทดลอง ในขั้นตอนนี้จะเป็นการทดลองทำภายหลังจากที่มีการสำรวจไปแล้ว เป็นการปรับ
ความแตกต่าง (accommodation) เมื่อได้พบหรือปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมใหม่ๆที่สัมพันธ์กับความคิดเดิมที่มีอยู่ในสมอง นั่นหมายความว่าเริ่มจะปรับความแตกต่างระหว่างของใหม่กับของเดิมจนเกิดความเข้าใจว่าควรจะทำอย่างไรกับสิ่งใหม่นี้
3. Learning by doing 
    การเรียนรู้จากการกระทำ ขั้นนี้เป็นการลงมือปฏิบัติกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งหรือการได้ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมที่มีความหมายต่อตนเอง แล้วสร้างเป็นองค์ความรู้ของตนเองขึ้นมา ซึ่งจะคาบเกี่ยวกับขั้นตอนที่ผ่านมา ขั้นนี้จะเกิดทั้งการดูดซึม (assimilation)และ การปรับความแตกต่าง (acommodation) ผสมผสานกันไป
2


Biggs 3P Model
1. ครูนำเสนอบทเรียนในขั้นนำเสนอ (P1 = Presentation) โดยนำ เสนอเป็นรูปประโยคที่ใช้ในการสื่อสาร (Whole Language) ไม่แยกสอนเป็นคำ ๆ นักเรียนจะเข้าใจภาษานั้นโดยภาพรวม หลีกเลี่ยงการแปลคำ ต่อคำ การนำเสนอต้องชัดเจน และตรวจสอบจนแน่ใจว่านักเรียนเข้าใจสิ่งที่ครูนำเสนอนั้น
2. ครูใช้กิจกรรมในขั้นฝึก (P2=Practice)อย่างหลากหลาย โดยยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง ฝึกหัดและพูดในกลุ่มใหญ่ (Whole Group)ก่อน เพื่อให้นักเรียนมีความมั่นใจในการใช้ภาษา ฝึกกลุ่มย่อยโดยใช้การฝึกลูกโซ (Chain Drill) เพื่อให้โอกาสนักเรียนได้สื่อสารทุกคน ฝึกคู่ (Pair Work)เปลี่ยนกันถาม-ตอบ เพื่อสื่อสารตามธรรมชาติแล้วจึงให้นักเรียนฝึกเดี่ยว (Individual)โดยฝึกพูดกับครูทีละคน การฝึกเดี๋ยวนี้ครูจะเลือกนักเรียนเพียง 2-3 คน เพื่อทำเป็นตัวอย่างในแต่ละครั้ง กิจกรรมขั้นนี้ใช้เวลา แต่นักเรียนจะได้ปฏิบัติจริง
ครูเพียงแต่คอยกำ กับดูแลให้การฝึกดำ เนินไปอย่างมีความหมายและสนุก
3. กิจกรรมขั้นนำ เสนอผลงาน (P3= Production)เป็นขั้นที่นักเรียนจะนำ ภาษาไปใช้ ครูอาจจะให้ทำ แบบฝึกหัด อ่านและเขียนร้องเพลงหรือเล่นเกม ที่สืบเนื่องและเกี่ยวข้องกับภาษาที่เรียนมาในขั้นที่ 1 และ 2 อาจให้ทำ งานเป็นการบ้านหรือสร้างสรรค์ผลงาน














3

SU learning Model
1. ผู้เรียนกำหนดกรอบวัตถุประสงค์การเรียนรู้ของตนเอง ด้วยการระบุความรู้และการปฏิบัติโดยระบุความรู้ ในรูปของสารสนเทศหรือdeclarative knowledge และระบุทักษะ การปฏิบัติ(โครงงาน งานภาระงาน)
กลยุทธ์ ทักษะ หรือกระบวนการหรือprocedural knowledgeและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
2. ผู้เรียนออกแบบการเรียนรู้ และระบุเกณฑ์คุณภาพวัตถุประสงค์การเรียนรู้เป็นค่าระดับตามโครงสร้างการสังเกตผลการเรียนรู้ (structure of observed learning out-comes:
 SOLO Taxonomy)
กรณีที่วัตถุประสงค์เป็นความรู้ความเข้าใจ จะระบุเป็นการเรียนรู้ร่วมกัน (collaborative learning)
หรือการเรียนรู้แบบนำตนเอง (self-directed learning) โดยคำนึงถึงความมีประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพ ถ้าผู้เรียนต้องการการเรียนรู้แบบการมีความคิดวิจารณญาณ จำเป็นจะต้องใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน (cooperative learning) มีการอภิปรายเรื่องราวที่เรียนรู้ กลยุทธการเรียนรู้แบบท างานเป็นทีม หรือกลยุทธการเรียนรู้เพื่อการบรรลุวัตถุประสงค์
4

DRU Model
1. P= Planning(การวางแผน)
   D = Design        (การออกแบบและการพัฒนา)
   C = Cognitive network (ความรู้ความกระจ่างชัด)
    A = Affective network (การเรียนรู้จากเพื่อนร่วมวิชาชีพ)
2. C= Cognitive network (ความรู้ความกระจ่างชัด)
    L = Learning(การเรียนรู้)
    M = Management
(การจัดการ,การควบคุม)
   S = Strategic network (กลวิธี)
3. A = Assessment
(การประเมินค่า)
    S = Strategic network (กลวิธี)
    A = Affective network
 (การเรียนรู้จากเพื่อนร่วมวิชาชีพ)
   E = Evaluation  (การประเมินผล)
5
NKK Model
กำหนดจุดประสงค์
- ความรู้
-ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
- จิตวิทยาศาสตร์
กิจกรรมภาระงาน
- กิจกรรมเพื่อให้รู้จุดประสงค์การเรียนรู้
- เสาะหาหรือสืบค้นเพื่อบรรลุกิจกรรม
- นำเสนอ และ วิพากษ์
การวัดผล
- ตรวจสอบทบทวนตัวเอง ตามกิจกรรมและภาระงาน
- ประเมินตนเองในความรู้ กระบวนการและจิตวิทยาศาสตร์   - การตอบสนองความต้องการในการเรียนรู้ของตนเอง

เปรียบเทียบ
รูปแบบการสอนแบบเดิม (9-20/ม.ค/60)
NKK Model
1. สอนเรื่อง ความกดอากาศ/ความชื้นอากาศ ชั้น ม.1
ขั้นนำ
      ผู้สอนกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ และใช้คำถามกระตุ้นความสนใจผู้เรียน เพื่อนำเข้าสู่บทเรียน
N (Need for Learning)
- ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษา เรื่อง ความกดอากาศ/ความชื้นอากาศ ในอินเตอร์เน็ต, หนังสือเรียน, PPTX, E-book, ใบความรู้ และสอบถามจาก เพื่อน, ผู้รู้,ผู้เชี่ยวชาญได้
ขั้นสอน
      ผู้สอนมีวิดิโอ เกมส์ ใบกิจกรรม สื่อการสอนที่เหมาะสมใช้ในการเรียนการสอน โดยเน้นให้ผู้เรียนได้ค้นหาความรู้ด้วยตนเอง
K (Knowledge by Network)
- ครูให้นักเรียนเรียนรู้เรื่อง ความกดอากาศ/ความชื้นอากาศ ผ่านPPTX, E-book, ใบความรู้ (เรียนรู้อย่างมีความสุข)
- ครูให้นักเรียนระดมสมองแบ่งงานตามความสามารถ และทำงานตามความสามารถ
ขั้นสรุป
      ผู้เรียนแลกเปลี่ยนความรู้ที่ได้กับผู้เรียนด้วยกันและได้นำความรู้ที่ได้ ไปถามผู้รู้เรื่องนั้นๆ หรือถามผู้สอน ผู้สอนสังเกตและประเมินผลการเรียนการสอนว่าบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้หรือไม่
K (Knowledge and do Audit)
- ครูให้นักเรียนระดมสมองเกี่ยวกับเรื่อง ความกดอากาศ/ความชื้นอากาศ แบ่งงานตามความสามารถ และทำงานตามความสามารถ
- ครูให้นักเรียนตรวจสอบทบทวนความรู้ของตนเอง
- ครูให้นักเรียนสามารถสอบถามจาก เพื่อน, ผู้รู้, ผู้เชี่ยวชาญได้

เขียนคำถามเพื่อให้พัฒนารูปแบบได้
DRU Model คืออะไร
          D คือ การวินิจฉัยความต้องการในการเรียนรู้จะนำไปสู่ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้
          R คือ ขั้นการวิจัยเพื่อกำหนดสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้จะนำไปสู่ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้                                    
          U คือ การตรวจสอบทบทวนโดยใช้แนวคิด UDLเพื่อการประเมินการพัฒนาการเรียนรู้จะนำไปสู่ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้
DRU Model ด้านความรู้ (Knowledge) สอดคล้องกับปรัชญาใดบ้าง
          - ปรัชญาสารัตถนิยม (Essentialism)
          - ปรัชญานิรันดรนิยม (Perenialism)
DRU Model ด้านผู้เรียน (Learner) สอดคล้องกับปรัชญาใดบ้าง
          - ปรัชญาการศึกษาอัตถิภาวะนิยม (Existentialism)
DRU Model ด้านสังคม (Society) สอดคล้องกับปรัชญาใดบ้าง
          - ปฏิรูปนิยม (Reconstructionism)
หลักการ DRU Model มีว่าอย่างไร
         1. หลักปรัชญาการสอน ใช้หลักปรัชญาการสอนตามแนวคิด ทฤษฎีสรรค์นิยม
         2. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ( learner centered learning) การเรียนรู้โดยใช้การวิจัย เป็นฐานะ และการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน (cooperative learning)
          3. การประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริง (authentic assessment) และกำหนดคุณภาพตามแนวคิด SOLO Taxonomy) ร่วมกับแนวคิดกำรออกแบบการเรียนรู้ที่เป็นสำกล(Universal Design for Learning and Assessment)


นางสาวณัฏฐ์สร  กมลมาลย์ รหัสนักศึกษา 5641060109
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป กลุ่ม 12 รุ่น 56 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี